วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Assignment 8 : Prepositions



6


 บุพบท  คือ  คำเชื่อระหว่างกริยานามสรรพนาม  หรือ  คำอื่ใด  เพื่อบอกสถานที่,
เวลา, ทิศทาง  และอื่นๆ  แบ่งตามลักษณะได้ 4 ประการ

1.         1. Simple  preposition  =  บุพบทคำเดียว
at                         ที่                     by               โดยข้าง            down              ลง               for          เพื่อเป็นเวลา
form   จาก         in                     ใน              on                       บน                  of                ของ
off                      หมด               past             ผ่าน                    round             รอบๆ         to            ถึง, เพื่อจะ
through             ผ่านทะลุ        till                จนกระทั่ง         since               ตั้งแต่          up           ขึ้น
with    กับด้วย until                จนกระทั่ง
1.         2. Compound  Preposition  -  บุพบทผสมตั้งแต่  2  พยางค์ขึ้นไป
about  เกี่ยวกับ  above             เหนือ             along              ตาม                 around       แถวๆ นี้
across ข้าม         against           ต่อต้าน           after               ภายหลัง        among       ระหว่าง
between             ระหว่าง         before            ก่อน               behind            ข้างหลัง     beside     ด้านข้าง
below ด้านล่าง into                 เข้าไปใน       inside              ข้างใน           outside       ข้างนอก
over    เหนือบน                     opposite         ตรงข้าม         out of             ออกจาก     towards ตรงไปยัง
under ใต้           underneath   ภายใต้            without          ปราศจาก
1.             3. Participial  Preposition  -  บุพบทที่มีรูป  -ing
barring                                       เว้นแต่, นอกจากว่า              concerning                        เกี่ยวกับบอกว่า
considering                               เกี่ยวกับ                                  during                                ระหว่าง  (ใช้กับเวลา)
pending                                     ระหว่าง                                 regarding                          เกี่ยวกับ
respecting                                 เกี่ยวกับ                                  notwithstanding               โดยไม่คำนึงถึงแม้
2.             4. Phrase  Preposition  =  บุพบทวลี
according to                             ตาม                                         because of                         เพราะว่า
by means of                              โดยอาศัย                               by reason                          เนื่องจาก
by way of                                  โดยเพื่อ                               for the sake of                  เพื่อเพื่อนเห็นแก่

Phrase  Preposition  -  บุพบทวลี
in accordance eith   ตามตามที่                                            in addition to                    นอกจาก
in (onbehalf of      ในนามขแง                                           in case of                           ถ้าหากว่าถ้า
in connection with   เกี่ยวกับ                                                  in compliance with          ตาม
in consequence of   ด้วยเหตุเพราะ                                    in course of                       ในระหว่าง
in favor of                 เพื่อประโยชน์ของ                              in fornt of                         ข้างหน้า
in lien of                    แทนที่แทน                                         in order to                         เพื่อที่จะwith a view of          เพื่อจะเพื่อ                                          with an eye to                   โดยมุ่งหมายเพื่อ
in place of                 แทนที่แทน                                         in reference of                 เกี่ยวกับ
in regard                    เกี่ยวกับ                                                  in singht to                        ใกล้
in stead of                 แทนที่แทน                                         in the event of                  ถ้าwith reference to     เกี่ยวกับ                                                  with regard to                  เกี่ยวข้อง
หากว่าถ้า
on account of           เนื่องจากโดยเหตุที่                            owing to                            เนื่องจาก

Assignment 9 : Conjunctions






- Conjunction  - 


 

6.2 คำสันธาน ( Conjunction )

       คำสันธาน คือคำที่ใช้เชื่อมความ ซึ่งได้แก่ คำสันธานที่ใช้เชื่อมประโยคที่สมบูรณ์สองประโยคเข้าด้วยกัน (coordinating conjunction)   คำสันธานที่ใช้นำหน้าประโยคย่อยไม่อิสระใน complex sentence (subordinating conjunction) และคำสันธานแบบคำคู่ ( paired conjunction)

       6.2.1 Coordinating Conjunction

                คือคำสันธานที่ใช้เชื่อมเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำ กลุ่มคำ หรือเชื่อมประโยคย่อยอิสระที่อยู่ใน compound sentence เช่น and, but, yet, or, nor, neither, for, so เป็นต้น โดยหากเป็นการเชื่อมประโยคย่อยอิสระใน compound sentence คำเชื่อมเหล่านี้จะอยู่ระหว่าง clause ทั้งสองและมีเครื่องหมายจุลภาค , (comma) คั่น ในกรณีที่ประโยคที่เชื่อมต่อกันค่อนข้างสั้น สามารถละเครื่องหมายจุลภาคได้
                     1)  and ใช้แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เสริมกัน ( showing addition)
                      My husband and I are going to Rayong this weekend.
                      My favorite pastimes are playing sports and listening to music.
                      I wrote to Kimberly on Tuesday and received her reply on Saturday morning.
                      January is the first month of the year, and December is the last.

                     2)  but, yet ใช้แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ขัดแย้งกัน ( showing concession or contrast)
                      These shoes are old but comfortable.
                      Jane likes the piano but prefers to play the harpsichord.
                      Carol is rich, but Robert is poor.
                      Mr. Bartley came to the party, but Mr. and Mrs. O'Connor did not.
                      William is tired, yet happy.
                      The psychiatrist spoke in a gentle, yet persuasive voice.
                      She did not study, yet she passed the exam.

                     3)  or ใช้แสดงความสัมพันธ์ประเภทเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ( showing alternatives)
                      You can have the black kitten or the white dog.
                      You can email or fax us the details of the program.
                      She wants to watch TV or (to) listen to some music.
                      My friends and I usually go to a party on Saturday night, or we go to the movies.

                     4)  nor, neither ใช้ในความหมายตรงข้ามกับ or กล่าวคือใช้แสดงความสัมพันธ์ในเชิง
ที่มา: http://www.grammar-monster.com/lessons/conjunctions.htm

Assignment 5 : Verbs



                      
Verbs ( คำกริยา )
Types (ชนิดของคำกริยา)
คำกริยาเป็นการบอกอาการ หรือการกระทำ  ( action ) หรือความมีอยู่  เป็นอยู่  ( being ) หรือ สภาวะความเป็นอยู่ ( state of being )
การกระทำ
ความมีอยู่ ,เป็นอยู่
สภาวะความเป็นอยู่
He eats
He is a boy.
He seemed tired.
He went home
She has a beautiful house.
This cake tastes good.


 การจำแนกชนิดของคำกริยา  มีการแบ่งไว้หลายวิธีสุดแต่จะคำนึงอะไรเป็นหลัก เช่น
1. แบ่งตามหน้าที่โดยยึดเป็นกรรม  ( Object ) เป็นเกณฑ์มี 2 ชนิด
  • Transitive Verbs  ( สกรรมกริยา )  คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ  เช่น
    He bought a book. ( a book เป็นกรรม )
  • Intransitive Verbs ( อกรรมกริยา ) คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรม    เช่น  
    He arrived late.

2. แบ่งตามหน้าที่ เป็นคำกริยาหลัก (Main Verbs) และคำกริยาช่วย ( Auxiliary Verbs )
  • Main Verbs  ( คำกริยาหลัก) เป็นคำกริยาที่ทำหน้าที่ได้อย่างอิสระในประโยค  เช่น
    He went to Australia last year.
  • Auxiliary Verbs ( คำกริยาช่วย ) ทำหน้าที่ช่วยคำกริยาหลัก  เช่น
    He has gone to Australia.

3. แบ่งตามหน้าที่เป็นคำกริยาแท้ ( Finite Verbs) และกริยาไม่แท้ ( Non-finite Verbs)
  • Finite Verbs  ( คำกริยาแท้ ) ทำหน้าที่แสดงกริยาอาการที่แท้จริงของประธานในประโยคมีการเปลี่ยนรูปไปตามSubject , Tense, Voice และ Mood เช่น 

Subject
go to school every day
He goes to school every day
They go to school every day
Tense 
He goes to school every day
He went to school  yesterday
He's going to school tomorrow




Voice
Someone killed the snake. ( Active )
The snake was killed . ( Passive )
Mood
I recommend that he see a doctor.
    (ไม่ใช่่he sees )
If I were you ,I would not do it.
    ( ไม่ใช่ I was )

  • Non-finite Verbs  ( คำกริยาไม่แท้ )หรือ Verbal  เป็นคำที่มีรูปจากคำกริยาแต่ไม่ได้ทำหน้าที่คำกริยาแท้ มี รูปคือ
a. Infinitives  เป็นคำกริยาที่อยู่ในรูปกริยาช่องที่ 1 นำหน้าด้วย to ทำหน้าที่ noun , adjective  และ adverb
 He lacked the strength to resist.
     ( to resist ทำหน้าที่ adjective)
  We must study to learn.
     ( to learn ทำหน้าที่ adverb)
b. Gerunds    เป็นคำกริยาเติม ing  ทำหน้าที่เป็นคำนาม ( noun ) เช่น
They do not appreciate my singing.
   พวกเขาไม่ชอบการร้องเพลงของฉัน  ( singing  เป็นคำนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรม )
I like swimming.
  ฉันชอบว่ายน้ำ.  ( swimming  เป็นกรรมของ like )
c. Participles  คำกริยาที่เติม ing  หรือ กริยาช่องที่   ที่ทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์ ( Adjective )  มี 2 รูปแบบคือ
Present Participles   เป็นคำกริยาที่เติม ing  เช่น
  The crying baby had a wet diaper.
     เด็กที่ร้องอยู่นั้นผ้าอ้อมเปียก  ( crying เป็นคำคุณศัพท์ขยาย baby )
Past Participles  เป็นคำกริยาช่องที่เช่น
  The broken bottle is on the floor.

4. แบ่งตามโครงสร้างโดยยึดการเปลี่ยนรูปของคำ  ( conjugation ) ได้แก่
  • Regular Verbs ( คำกริยาปกติ )  เป็นคำกริยาที่เติม ed เมื่อเป็น past และ past participle เช่น

walk
walked
walked
stop
stopped
stopped
work
worked
worked

  • Irregular Verbs ( คำกริยาอปกติ ) เป็นคำกริยาที่มีรูป past และ past participle ต่างไปจากรูปเดิมหรือคงรูปเดิม เช่น

send
sent
sent
go
went
gone
see
saw
seen

ที่มา: http://www.grammar-monster.com/tests/test_verbs.htm

Assignment 7 : Adverbs




Adverbs ( กริยาวิเศษณ์ )

Types (ชนิดของกริยาวิเศษณ์ )

Adverb ( กริยาวิเศษณ์ ) คือคำที่ใช้ประกอบหรือขยายคำต่อไปนี้เพื่อให้ได้ความหมายชัดเจน สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
1. Verb (กริยา)  เช่น  He works hard every day.  ( hard เป็น adverb  ขยายคำกริยา work )
2. Adjective ( คำคุณศัพท์)  เช่น  It is surprisingly hot  today. ( surprisingly เป็น adverb ขยาย คุณศัพท์ hot )
3คำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันเอง  เช่น The train travels very quickly.( very ซึ่งเป็น adverb ขยาย quickly ซึ่งเป็น  adverb )
4Pronoun (สรรพนาม)  เช่น  What else I can say? ( else เป็น adverb ขยาย what  ซึ่งเป็น สรรพนาม )
5. กลุ่มคำที่เป็นวลี  เช่น They lived nearly on the top of the hill. ( nearly เป็น adverb ขยายวลี on the top of the hill )
6. ประโยค  เช่น However, I was successful in the examination ( however เป็น adverb ขยายประโยคที่ตามมา )
7. จำนวนนับ   เช่น  I go to Huahin almost every week. (  almost เป็น adverb ขยายจำนวนนับ every )
8. Preposition (บุพบท)   เช่น  I hit him right on his nose . ( right ในที่นี้แปลว่า"พอดี " เป็น adverb ขยาย preposition "on")
9. Conjunction ( สันธาน ) เช่น   He didn't stop working even though he was very tired. ( even =ถึงขนาดนั้น เป็น adverb ขยายสันธาน though
การจัดชนิดของ adverbs นี้  แต่ละตำราจะแบ่งไม่เหมือนกัน แต่โดยรวมแล้วเนื้อหาจะเหมือนกัน ในที่นี้จัดกลุ่มดังนี้
  • Adverb ที่ขยาย  adjective  และ adverb   ได้แก่ 
       1.Adverbs of Degree  ซึ่งปกติจะนำหน้าคำที่มันขยาย
  • Adverb ที่ขยาย verb ได้แก่
        2. Adverbs of Time
        3. Adverbs of Manner
        4. Adverbs of Place
        5. Conjunctive Adverbs
    อื่นๆ
        
    6. Interrogative Adverbs
        7. Relative Adverbs 
        8. Viewpoint and Commenting Adverbs     9. Adverbs phrases and clauses of purpose
        10. Adverbs of Certainty

Assignment 6 : Adjectives




Adjective
ตำแหน่งของคุณศัพท์ ( Position )


Adjective ( คุณศัพท์ ) คือคำ ( word ) วลี ( phrase ) หรือประโยค ( sentence )    ซึ่งใช้อธิบายหรือขยายคำนาม หรือสรรพนาม ให้ได้ ความชัดเจนยิ่งขึ้น กล่าวคือเป็นการบอกให้รู้ลักษณะคุณสมบัติของนามหรือสรรพนามนั้นว่าเป็นอย่างไร เช่น good, bad, new, hot, my, this  โดยทั่วไปการวางตำแหน่ง คุณศัพท์ในประโยคจะวางได้ 2 แบบ
  • ใช้วางประกอบข้างหน้านาม ( attributive use ) ที่มันขยายShe is a beautiful girl.  เธอเป็นคนสวย ( beautiful ขยายนาม girl)
    These are small envelopes. พวกนี้เป็นซองเล็กๆ  ( small ขยายนาม envelopes)
  • ใช้วางเป็นส่วนของกริยา ( predicative use ) โดยอยู่ตามหลัง verb to be เมื่อ adjective นั้นขยาย noun หรือ pronoun ที่อยู่หน้า verb to beThe girl is beautiful. เด็กผู้หญิงคนนั้นสวย 
          (
     beautiful เป็นคุณศัพท์ที่ตามหลัง verb to be  ขยาย girl และ the เป็นคุณศัพท์ขยาย girl เช่นกัน
    These 
    envelopes are smallซองพวกนี้มีขนาดเล็ก
          (
     small เป็นคุณศัพท์ที่ตามหลัง verb to be ขยาย envelopes ,these เป็น คุณศัพท์ขยาย envelopes เช่นกัน )
    She 
    has been sick all weekเธอป่วยมาตลอดอาทิตย 
          (
     sick เป็น คุณศัพท์ ที่ตามหลัง verb to be   ขยายสรรพนาม she )
    ( You) 
    Be careful( คุณ ) ระมัดระวังด้วย 
          
    ( careful เป็นคุณศัพท์ที่ตามหลัง verb to be ขยาย you    ซึ่งในที่นี้ละไว้เป็นที่เข้าใจ ) 
    That cat 
    is fat and  whiteแมวตัวนั้นอ้วนและมีสีขาว
         
    ( That เป็นคุณศัพท์ประกอบหน้านาม   fat และ white เป็นคุณศัพทซึ่งเป็นส่วนของกริยาขยาย cat

Assignment 4 : Pronouns

Assignment 4 : Pronouns
Pronouns  ( คำสรรพนาม )
Types (ชนิดของคำสรรพนาม)
Pronoun ( คำสรรพนาม )  คือคำที่ใช้แทนคำนามหรือคำเสมอนาม ( nouns- equivalent ) เพื่อหลีกเลี่ยงการกล่าวถึงซ้ำซาก หรือแทนสิ่งที่รู้กันอยู่แล้วระหว่างผู้พูด ผู้ฟัง   หรือแทนสิ่งของที่ยังไม่รู้ หรือไม่แน่ใจว่าเป็นอะไร   คำสรรพนาม  (pronouns ) แยกออกเป็น  7 ชนิด คือ
·         Personal Pronoun ( บุรุษสรรพนาม )  เช่น I, you, we, he , she ,it, they
·         Possessive Pronoun ( สรรพนามเจ้าของ ) เช่น mine, yours, his, hers, its,theirs, ours
·         Reflexive Pronouns ( สรรพนามตนเอง ) เป็นคำที่มี - self ลงท้าย  เช่นmyself, yourself,ourselves
·         Definite Pronoun ( หรือ Demonstrative Pronouns สรรพนามเจาะจง )  เช่น  this, that, these, those, one, such, the same
·         Indefinite Pronoun ( สรรพนามไม่เจาะจง ) เช่น  all, some, any, somebody, something, someone
·         Interrogative Pronoun ( สรรพนามคำถาม ) เช่น Who, Which, What
·         Relative pronoun ( สรรพนามเชื่อมความ ) เช่น  who, which, that
1.Personal Pronouns ( บุรุษสรรพนาม )  คือสรรพนามที่ใช้แทนบุคคลหรือสิ่งของ

ในการพูดสนทนา มี
 3 บุรุษคือ
บุรุษที่1
ได้แก่ตัวผู้พูด
I, we
บุรุษที่2
ได้แก่ผู้ฟัง  
you
บุรุษที่3
ได้แก่ผู้ ที่พูดถึง สิ่งที่พูดถึง
 he, she. it , they
รูปที่สัมพันธ์กันของคำสรรพนาม
รูปประธาน 
รูปกรรม
Possessive Form
Reflexive Pronoun
Adjective
Pronoun
 I
 me
my
 mine
 myself
we
us
our
ours
ourselves
you
you
your
yours
yourself
he
him
his
his
himself
she
her
her
hers
herself
it
it
its
its
itself
they
them
their
theirs
themselves
เช่น
I saw a boy on the bus. He seemed to recognize me.
ฉันเจอเด็กคนหนึ่งบนรถประจำทาง เขาดูเหมือนจะจำฉันได้  ( 
He ในประโยคที่สองแทน a boy และ me แทน I  ในประโยคที่หนึ่ง )
My friend and her brother like to swim. 
They swim whenever they can.
เพื่อนฉันและน้องชายของเธอชอบว่ายน้ำ พวกเขาไปว่ายน้ำทุกครั้งที่มีโอกาส (  theyในประโยคที่สอง แทน My friend และ her brother ในประโยคที่ 1 )
การใช้ Personal Pronouns ที่ทำหน้าที่เป็นประธานและเป็นกรรมมีหลักดังนี้
Personal Pronoun ที่ตามหลังคำกริยาหรือตามหลังบุพบท ( preposition ) ต้องใช้ในรูปกรรม เช่น
Please tell him what you want.   โปรดบอกเขาถึงสิ่งที่คุณต้องการ  ( ตามหลังดำ

กริยา
 tell )

Mr. Wilson talked with 
him about the project.

คุณวิลสัน พูดกับเขาเกี่ยวกับโครงการ ( ตามหลังบุพบท with )




หมายเหต        ถ้ากริยาเป็น verb to be สรรพนามที่ตามหลังจะใช้เป็นประธานหรือเป็นกรรม ให้พิจารณาดูว่า สรรพนามใน ประโยคนั้นอยู่ในรูปผู้กระทำ หรือ ผู้ถูกกระทำ เช่น
It was she who came here yesterday.

เธอคนนึ้ ที่มาเมื่อวานนี้  ( ใช้ she เพราะเป็นผู้กระทำ )


It was 
her whom you met at the party last night.

เธอคนนี้ที่คุณพบที่งานเลี้ยงเมื่อคืนนี้ (ใช้ her เพราะเป็นกรรมของ   you met )
2. Possessive Pronouns ( สรรพนามเจ้าของ )  คือสรรพนามที่ใช้แทนคำนามเมื่อ

แสดงความเป็นเจ้าของ ได้แก่คำต่อไปนี้


      mine,ours, yours, his, hers,its,theirs 
The smallest gift is mineของขวัญชิ้นที่เล็กที่สุดเป็นของฉัน

This is
 yours. อันนี้ของคุณ

His is on the kitchen counter. ของเขาอยู่บนเคาน์เตอร์ในครัว

Theirs will be delivered tomorrow. ของพวกเขาจะเอามาส่งพรุ่งนี้

Ours is the green one on the table . ของพวกเราคืออันสีเขียวที่อยู่บนโต๊ะ
possessive pronouns มึความหมายเหมือน    possessive adjectives แต่หลักการใช้


ต่างกัน

This is 
my book.


นี่คือหนังสือของฉัน ( my ในประโยคนี้เป็น possessive adjective ขยาย book )
This book is mine.


หนังสือนี้เป็นของฉัน (  mine ในประโยคนี้เป็น possessive pronoun  ทำหน้าที่เป็น

ส่วนสมบูรณ์ (
 complement)  ของคำกริยา is )

3. Reflexive Pronouns ( สรรพนามตนเอง ) คือสรรพนามที่แสดงตนเอง แสดงการ


เน้น ย้ำให้เห็นชัดเจน มักเรียกว่า -
self form of pronoun  ได้แก่

   
 myself. yourself, yourselves, himself, herself, ourselves. themselves, itself  มี

หลักการใช้ดังนี้
·         ใช้เพื่อเน้นประธานให้เห็นว่าเป็นผู้กระทำการนั้นๆ ให้วางไว้หลังประธานนั้น  ถ้าต้องการเน้นกรรม (object ) ให้วางหลังกรรม เช่น
She 
herself doesn't think  she'll get the job.
The film 
itself wasn't very good but I like the music.
I spoke to Mr.Wilson 
himself.
·         วางหลังคำกริยา เมื่อกริยาของประโยคเป็นกริยาที่ทำต่อตัวประธานเอง
They blamed 
themselves for the accident.
พวกเขาตำหนิตนเองในอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ( ตามหลังกริยา blamed )
You are not 
yourself today.
วันนี้คุณไม่เป็นตัวของคุณเอง ( ตามหลังกริยา are )
I don't want you to pay for me. I'll pay for 
myself. 
ฉันไม่อยากให้คุณเป็นคนจ่ายเงินให้ ฉันจะจ่ายของฉันเอง
Julia had a great holiday. She enjoyed 
herself very much.
จูเลียมีวันหยุดที่ดี เธอสนุกมาก
George cut 
himself while he was shaving this morning.
จอร์จทำมีดบาดตัวเองขณะทีโกนหนวดเมื่อเช้านี้
หมายเหตุ  ปกติ จะใช้  wash/shave/dress โดยไม่มี myself
·         เมื่อต้องการจะเน้นว่า ประธานเป็นผู้ทำกิจกรรมนั้นเอง
Who repaired your bicycle for you? Nobody, I repaired it 
myself.ใครซ่อมรถจักรยานให้คุณ. ไม่มีใครทำให้ฉันซ่อมเอง
I'm not going to do it for you. You can do it yourself.
ฉันจะไม่ทำ( อะไรสักอย่างที่รู้กันอยู่ ) ให้นะ คุณต้องทำเอง
By myself หมายถึงคนเดียว มีความหมายเหมือน  on my own  เช่นเดียวกับคำต่อไปนี้
on ( my/your/his/ her/ its/our/their ) own     มีความหมายเหมือนกับ
by ( 
myself/yourself ( singular) /himself/ herself/ itself/ ourselves/ yourselves(plural)/ themselves )
เช่น
I like living 
on my own/by myself. ฉันชอบใช้ชีวิตอยู่คนเ้ดียว
Did you go on holiday 
on your own/by yourselfเธอไปเที่ยววันหยุดคนเดียวหรือเปล่า
Learner drivers are not  allowed to drive 
on their own/ by themselves.
ผู้ที่เรียนขับรถไม่ได้รับอนุญาตให้ขับรถด้วยตัวเองคนเดียว
Jack was sitting 
on his own/by himself in a corner of the cafe.
แจ๊คนั่งอยู่คนเดียวทีีมุมห้องในคาเฟ
4. Definite Pronouns หรือ Demonstrative Pronouns  คือสรรพนามที่บ่งชี้ชัดเจนว่าใช้แทนสิ่งใด เช่น
 
this, that, these, those, one, ones, such, the same, the former, the latter
That is incredible!    นั่นเหลือเชื่อจริงๆ  (อ้างถึงสิ่งที่เห็น)
I will never forget 
this.   ฉันจะไม่ลืมเรื่องนี้เลย (อ้างถึงประสบการณ์เมื่อเร็วๆนี้)Such is my belief.  นั่นเป็นสิ่งที่ฉันเชื่อ (อ้างถึงสิ่งที่ได้อธิบายไปก่อนหน้านี้ )
Grace and Jane ar good girls. 
The former is more beautiful than the latter.
  เกรซและเจนเป็นเด็กดีทั้งคู่ แต่คนแรก (เกรซ)จะสวยกว่าคนหลัง (เจน)
5.Indefinite Pronouns ( สรรพนามไม่เจาะจง ) หมายถึงสรรพนามที่ใช้แทนนามได้ทั่วไป มิได้ชี้เฉพาะเจาะจงว่าแทนคนนั้น คนนี้ เช่น
everyone
everybody
everything
some
each
someone
somebody
all
any
many
anyone
anybody
anything
either
neither
no one
nobody
nothing
none
one
more
most
enough
few
fewer
little
several
more
much
less

Everybody loves somebody. คนทุกคนย่อมมีความรักกับใครสักคน
Is there 
anyone here by the name of Smith? มีใครที่นีชื่อสมิธบ้างOne should always look both ways before crossing the street. ใครก็ตามควรจะมองทั้งสองด้านก่อนข้ามถนนNobody will believe him. จะไม่มีใครเชื่อเขาLittle is expected. มีการคาดหวังไว้น้อยมาก
We, you, they ซึ่งปกติเป็น personal pronoun จะนำมาใช้เป็น indefinite pronounเมื่อไม่เจาะจง  โดยมากใช้ในคำบรรยาย คำปราศัย เช่น
We should prepare ourselves to deal with any emergency. เรา ( โดยทั่วไป) ควรจะเตรียมพร้อมไว้เสมอสำหรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน)You sometimes don't know what to say in such a situation. บางครั้งพวกคุณก็ไม่รู้ว่าจะพูดอย่างไรในสถานการณ์เช่นนั้น.
6. Interrogative Pronouns ( สรรพนามคำถาม )  เป็นสรรพนามที่แทนนามสำหรับคำถาม ได้แก่  Who, Whom, What, Which  และ Whoever, Whomever,Whatever,Whichever   เช่น
Who want to see the dentist first? ใครอยากจะเข้าไปหาหมอฟันเป็นคนแรก? ( who ในที่นี้เป็นประธาน )Whom do you think we should invite? เธอคิดว่าเราควรจะัเชิญใคร? (  whomในที่นี้เป็นกรรม - object )
To
 whom do to wish to speak ? เธออยากจะพูดกับใคร? (  whom ในที่นี้เป็นกรรม -object )What did she say?  เธอพูดว่าอะไรนะ? (  what เป็นกรรมของกริยา say )Which is your cat ? แมวของเธอตัวไหน? ( which เป็นประธาน )Which of these languages do you speak fluently? ภาษาไหนในบรรดาภาษาเหล่านี้ที่คุณพูดได้คล่อง? ( which เป็นกรรมของ speak )
หมายเหต   which และ  what  สามารถใช้เป็น  interrogative adjective   และ who, whom , which  สามารถใช้เป็น relative pronoun  ได้




7. Relative Pronouns ( สรรพนามเชื่อมความ ) คือสรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่กล่าวมาแล้วในประโยคข้างหน้า   และพร้อมกันนั้นก็ทำหน้าที่เชื่อมประโยคทั้งสอง ให้เป็นประโยคเดียวกัน   เช่นคำต่อไปนี้  who, whom, which whose ,what, that ,และ indefinite relative pronouns เช่น whoever, whomever,whichever, whatever
Children who (that) play with fire are in great danger of harm.
The book 
that she wrote was the best-seller
He's the man 
whose car was stolen last week.
She will tell you 
what you need to know.
The coach will select 
whomever he pleases.Whoever cross this line will win the race.
You may eat 
whatever you  like at this restaurant.





ที่มา : http://www.grammar-monster.com/tests/test_pronouns.htm